Research Platform งานวิจัยของศูนย์ฯ ทั้ง 4 ด้าน

ชุดตรวจคีโทนในปัสสาวะ เพื่อการติดตามสุขภาพอย่างใกล้ชิด
แผ่นแปะผิวหนัง นวัตกรรมนำส่งยาเพื่อการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง
โซเดียมแทนทาเลตเร่งปฏิกิริยาการแยกน้ำ เพื่อการสร้างพลังงานไฮโดรเจน
พอลิอินโดลผสมกราฟีนสำหรับตรวจวัดเมทานอล เพื่อวิถีปลอดภัยในอุตสาหกรรม
คอนกรีตซ่อมแซมตัวเองได้ แตกเสียหายเมื่อไหร่ก็แข็งแรงใหม่ได้เหมือนเดิม
เทคโนโลยีสามมิติพิมพ์ซิลิโคน จัดการโครงสร้างที่ซับซ้อนทีละชั้นแบบขั้นเทพ
โฟมจากยางธรรมชาติผสมพลาสติก ยืดหยุ่น ขึ้นรูปซ้ำได้
เซนเซอร์เปลี่ยนสีตรวจพิษไซยาไนด์ ใส่ใจสุขภาพ ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ยางธรรมชาติผสานนาโนเซลลูโลส ยืดหยุ่น ย่อมเยา ย่อยสลายได้
พอลิลูทีโอลิน โมเลกุลจิ๋วต้านอนุมูลอิสระ นำส่งสุขภาพเข้าสู่เซลล์
แขนกลยางผสมคาร์บอน อ่อนนุ่มดุจร่างกาย เคลื่อนไหวได้ดั่งมนุษย์
พลาสติกติดพลังแกร่งด้วยโลหะออกไซด์ เป็นมิตรกับร่างกาย ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ
พลาสติกพีแอลเอผสมคาร์บอน ใช้งานทนทาน ต้านแบคทีเรีย
แผ่นทดสอบตับอักเสบซี จับดีเอ็นเอไวรัส วัดง่ายได้ผลเร็ว
พลาสเตอร์ยางผสมลิกนิน ต้านจุลินทรีย์ด้วยวิถีธรรมชาติ
กล้องสมาร์ตโฟนวัดฝุ่นแบบเรียลไทม์ ใช้งานง่าย ราคาไม่แรง
มวลรวมเบาจากเถ้าชีวมวล ส่วนผสมคอนกรีต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ผงยางดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ หมุนล้อใหม่สู่ความยั่งยืน
ฟิล์มสับปะรด ห่ออาหารสดนาน กันยูวี
สร้างวัสดุคอนกรีตผสมยาง สู้เส้นทางเคียงข้างสิ่งแวดล้อม
เซนเซอร์ชมพูทดสอบอาหารสด...5 นาที ดีไม่ดีเดี๋ยวรู้กัน
พิมพ์เรซินผสมเซลลูโลสแบบ 3D…มิติใหม่ ย่อยสลายได้แข็งแรงด้วย
ตรึงเอนไซม์ย่อยฟางข้าวเป็นน้ำตาล งบไม่บาน ใช้งานคุ้ม
พลาสติกจากสารธรรมชาติ ย่อยได้ ติดไฟยาก
โฟมรองเท้า ใส่สบาย แก้รองช้ำ
ไคโตซานนำส่งยา เร็วช้าออกแบบได้ดั่งใจ
ชนะอย่างใสสะอาด: กำจัด ‘สารหนู’ ในน้ำเสียโรงงานด้วย ‘เปลือกกุ้งปูและพืชพรรณ’
ทิ้งไว้ทำไมให้รกโลก ในเมื่อ ‘ผักตบชวา-ขยะพลาสติก’ ก็เปลี่ยนให้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพได้
เชิญใส่เสื้อผ้า ‘โพลีเอสเตอร์’ กันตามสบาย ส่วนเศษผ้าจากการซักที่เหลืออยู่แบคทีเรียจะย่อยให้เอง
‘ไบโอพลาสติก’ ไม่ได้มีไว้ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ‘ไหมไทย’ ก็ไม่ได้มีไว้สวมใส่ แต่มีบทบาทใหม่-พอลิเมอร์ทางการแพทย์
อากาศก็มีเชื้อโรคและสารพิษ ‘ฟิลเตอร์ช่วยชีวิต’ จึงไม่ได้มีไว้แค่กรองฝุ่น
แต่งผ้าไทย อย่างไรไม่ให้แก่? : รู้จักกับไหมไทยย้อม ‘ซิลเวอร์นาโน’ ที่มีสีสันแปลกใหม่ แถมยังต้านแบคทีเรีย
‘ไวรัสซิกา’ ตรวจคัดกรองอย่างไรให้ง่ายและรวดเร็ว: ติดเชื้อ…แต่ไม่รู้ตัว
ติดพอลิอะนิลีนบนขั้วไบโอเซนเซอร์ ตรวจอะไรก็ ‘เป๊ะเวอร์’
เติมเซลลูโลสเสริมความแกร่งยางพารา นำยางไทยบุกตลาดโลก
เสริมเส้นใย ‘นาโนคาร์บอน’ ในแบตเตอรี่ ให้แข็งแกร่งเหมือนหัวใจเสริมใยเหล็ก
‘นาโนไฮดรอกซีอะพาไทต์’ นำส่งสารสร้างกระดูก เดลิเวอรีสร้างรอยยิ้ม
ลดต้นทุนผลิตวัสดุชีวภาพ ‘พอลิแลกติกแอซิด’ สู้ราคาพลาสติกปิโตรเคมี
เนรมิต ‘กระดูกเทียมจากพลาสติกชีวภาพด้วย 3D Printing’ ไอเดียปิ๊งแก้โรค
‘ยางพาราผสมทะลาย’ goodbye จุลินทรีย์
ผักตบชวาไฟเบอร์ นวัตกรรมเซลลูโลสเพิ่มความแข็งแรงพอลิเมอร์
ซิลิกาผนึกกำลังเอมีน สร้างตัวดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ ช่วยลดโลกร้อน
เลนส์กล้องจุลทรรศน์สำหรับมือถือ ลูกเล่นเติมความสนุก ให้กับการถ่ายรูป
พอลิแล็กติกแอซิดเสริมใยมะพร้าวและไผ่ พลาสติกสูตรใหม่ ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ
จีโอพอลิเมอร์จากเถ้าลอยผสมเส้นใยเซรามิก วัสดุรักสิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างโลกอนาคต
ฟิล์มสับปะรด ห่ออาหารสดนาน กันยูวี
พลาสติกผสมวัสดุเหลือใช้ บรรจุภัณฑ์ใหม่ ย่อยสลายได้ ผลไม้สดนาน
ฟิล์มบอกความสด รู้หมดเนื้อสดแค่ไหน!?
แบคทีเรียลเซลลูโลส โซลูชันธรรมชาติเสริมประสิทธิภาพแบตเตอรี่ลิเทียม
พอลิแล็กติกแอซิดผสมโอเลฟินส์ พลาสติกใหม่สู่ผลิตภัณฑ์พร้อมใช้งาน
โซเดียมแทนทาเลตเร่งปฏิกิริยาการแยกน้ำ เพื่อการสร้างพลังงานไฮโดรเจน
ตัวรับรู้เชิงสีตรวจสารหนูในน้ำ รอผลไม่นาน ราคาไม่แรง
สารสกัดมณฑาและเอื้องเค้ากิ่วต้านอนุมูลอิสระ ธรรมชาติเพื่อสุขภาพดี
ผงยางดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ หมุนล้อใหม่สู่ความยั่งยืน
แผ่นปิดแผลไฮโดรเจลเซลลูโลสผสมเคอร์คูมินจากขมิ้นชัน แผลสะอาดสมานผิวเร็ว
ชุดตรวจไวรัสเอชพีวี เซฟชีวิตหญิงไทย ห่างไกลมะเร็งปากมดลูก
แอลกอฮอล์สังเคราะห์จากกรดไขมัน ผลิตภัณฑ์ใหม่จากปาล์มและมะพร้าว
เทคโนโลยีพลาสมาสร้างไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ พลังสะอาดทางเลือกใหม่เพื่อการสังเคราะห์พอลิยูรีเทน
เค้นทะลายปาล์มทำน้ำมันอากาศยาน รีดศักยภาพสร้างพลังงานหมุนเวียน
กลายร่างกลีเซอรอลเป็นโพรเพนไดออล ส่งต่ออุตสาหกรรมยา เพิ่มมูลค่าสารเคมี
บำบัดน้ำเสียโรงงานให้ได้พลังงานไว้ใช้ กำไรสองต่อ
แปรรูปกลีเซอรอลเป็นโพรพิลีนไกลคอล ช่วยเกษตรกรปาล์ม หนุนการใช้ไบโอดีเซล
ผลิตไบโอดีเซลด้วยตัวเร่งใหม่ พลิกน้ำมันเหลือใช้ให้เป็นเชื้อเพลิง
หนามยอกต้องเอาหนามบ่ง: ดับความแรงของกลิ่นทุเรียนด้วย ‘สารสกัดจากใบสับปะรด’
พัฒนาเทคนิคเตรียมสารเฮเทอโรไซคลิก ใช้ผลิตยารักษาโรค
ยกระดับ ‘ไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์ม’ ชูสินค้าเกษตรไทย แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
พลาสติกชีวภาพหายใจได้’ ต่ออายุสิ่งแวดล้อม เติมเต็มชีวิตผู้บริโภค
เปลี่ยน ‘น้ำมันปาล์ม’ เป็น ‘ไบโอไฮโดรจีเนเต็ดดีเซล’ ด้วยเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก พัฒนาทางเลือกพลังงานสะอาด
‘มาร์คเกอร์น้ำมัน’ นวัตกรรมแก้งง น้ำมันดิบหรือน้ำมันเตา
ซิลิกานาโนคาร์บอน เปลี่ยนชีวมวลเป็นไฮโดรเจน รับเทรนด์พลังงานคลีน
ตัวเร่งสามสหายสายกรีน สร้างน้ำมันเครื่องบินจากปาล์ม
พอลิโพรพิลีนคาร์บอเนตจากคาร์บอนไดออกไซด์ สู่อิเล็กโทรไลต์แบตเตอรี่ลิเทียม
โอเลฟินส์สังเคราะห์จากคาร์บอนไดออกไซด์กับตัวเร่งใหม่ที่ใครก็ว่าโอ (เค)
ยางรถเก่าดูดซับโลหะหนัก บำบัดมลพิษ พิชิตปัญหาสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีแยกน้ำสร้างไฮโดรเจนเป็นพลังงาน ควบการบำบัด น้ำเสียจากการผลิตไบโอดีเซล
บูสต์พลังแบตเตอรี่สังกะสีไอออน ปกป้องขั้วไฟฟ้าเพื่อการใช้งานยาวนาน
พัฒนาแบตเตอรี่สังกะสี-อากาศ หนุนพลังงานสะอาด แก้ปัญหาโลกร้อน
โฟมยางสำหรับโซลาร์เซลล์ลอยน้ำ เพื่อการผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์
จมูกอิเล็กทรอนิกส์เพื่อคุณภาพชีวิต พิชิตข้อจำกัดการดมกลิ่นของมนุษย์
ตัวเร่งชนิดเส้นใยนาโนโลหะออกไซด์ เสริมสมรรถนะใหม่ให้แบตเตอรี่
ผลิตไบโอดีเซลด้วยตัวเร่งแบบนำกลับมาใช้ใหม่ จัดการง่าย ได้พลังงานทดแทน
ส่งต่อชานอ้อยสู่วงจรสร้างพลังงาน เส้นทางสู่ความยั่งยืน
ขั้วแมงกานีสออกไซด์เคลือบโลหะ เร่งปฏิกิริยาผลิตกระแสไฟ แหล่งพลังงานใหม่สู่ความยั่งยืน
ผลิตแอลพีจีจากคาร์บอนไดออกไซด์ พลังงานใหม่สู่ความยั่งยืน
วัสดุตัวเก็บประจุชนิดใหม่ ชาร์จไฟไว ใช้งานจุใจ
ตัวเร่งใหม่ แพลทินัมผสมทังสเตนคาร์ไบด์ ราคาถูกแต่แรงเหมือนเก่า
‘สกัดน้ำมันกาแฟด้วยคาร์บอนไดออกไซด์’ เอาใจคนรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ไม่ชอบดื่มแต่ชอบดม
ทำไมการแพทย์ต้องการให้ ‘ยางพารากลัวน้ำ’ แล้ววิทยาศาสตร์ทำให้ยางพาราไม่ชอบน้ำได้อย่างไร
‘เปลี่ยนชีวมวลให้เป็นเชื้อเพลิง’ ปลดปล่อยพลังสินค้าเกษตรไทย
‘ตัวเร่งแบตเตอรี่โคบอลต์ออกไซด์’ ชาร์จไว ใช้นาน
โมโนกลีเซอไรด์จากปาล์มน้ำมัน ผลิตภัณฑ์ต่อยอดจากการสังเคราะห์ไบโอดีเซล
การสังเคราะห์เชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอนจากคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา
ส่งต่อชานอ้อยสู่วงจรสร้างพลังงาน เส้นทางสู่ความยั่งยืน
ตัวเร่งปฏิกิริยาทูอินวัน แปลงน้ำตาลเป็นสารปิโตรเคมี ชุบชีวิตกากชีวมวล
เทคโนโลยีแยกน้ำสร้างไฮโดรเจนเป็นพลังงาน ควบการบำบัดน้ำเสียจากการผลิตไบโอดีเซล
ผลิตไบโอดีเซลในเครื่องปฏิกรณ์ช่องจุลภาค การทดลองฉบับกะทัดรัดเพื่อการประหยัดต้นทุน
เมมเบรนซีโอไลต์จากท้องนาสู่การแยกก๊าซมีเทนบริสุทธิ์
พัฒนาแบบจำลองควบคุมพีเอชในน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพกำจัดโลหะหนัก
ดูดซับสีย้อมด้วยคาร์บอนผักตบให้โลกสดใส น้ำเสียแค่ไหนก็สะอาด
แปลงก๊าซมีเทนไปผลิตสารมูลค่าสูงลิบ พิชิตโลกร้อนไปในตัว
รีไซเคิลซีโอทูสู่สารไซคลิกคาร์บอเนต อัปเกรดมูลค่าก๊าซเรือนกระจก ลดโลกร้อน
โมเดลบำบัดน้ำเสียด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ แบบจำลองใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
ฝึกเอไอให้ช่วยหาสภาวะสังเคราะห์พลาสติก กับภารกิจลดต้นทุนปิโตรเคมีพันล้าน
‘แปลงร่างน้ำมันปาล์มเป็นน้ำมันเครื่องบิน’ ให้ทะยานจากพื้นดินสู่ท้องฟ้า
โมเดลเครื่องดูดคาร์บอนไดออกไซด์ ไอเดียเก๋ลดโลกร้อน
ไบโอมาร์กเกอร์กับภารกิจค้นหาชนิดคราบน้ำมัน สู่แนวทางการป้องกันสิ่งแวดล้อมทางทะเล
จำลองการผลิตแอมโมเนียและยูเรียตามความต้องการตลาด จับโอกาสสร้างกำไรพันล้าน

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ
อาคารวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 7 ห้อง 705/1
254 ซอยจุฬาฯ 12 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
  02 2184141-2
petromat@chula.ac.th